โดยปกติมาตรวัดเราจะใช้ของลิเคิร์ท (Likert Scale) ซึ่งใช้เกณฑ 5 ระดับ
แทน 5 ความหมายคือ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย และน้อยที่สุด
ส่วนเกณฑ์การแปลความหมาย เพื่อจัดระดับคะแนนเฉลี่ยในช่วงคะแนนต่าง ๆ
มีสมการคำนวณอันตรภาคชั้นของค่าเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 0.8 (บางเอกสารใช้ 0.5)
โดยใช้สมการ
ความกว้างของอันตรภาคชั้น = ( คะแนนสูงสุด – คะแนนต่ำสุด ) / จำนวนชั้น
อ้างถึงในชัชวาลย์ เรืองประพันธ์ 2539 หน้า 15
ทำให้ได้เกณฑ์การแปลความหมายดังนี้
1.00 – 1.80 มีผลน้อยที่สุด
1.81 – 2.60 มีผลน้อย
2.61 – 3.40 มีผลปานกลาง
3.41 – 4.20 มีผลมาก
4.21 – 5.00 มีผลมากที่สุดบางเอกสารกำหนด interval เป็น 0.50
4.50-5.00 Very satisfied
3.50-4.49 Satisfied
2.50-3.49 Neutral
1.50-2.49 Dissatisfied
1.00-1.49 Very dissatisfied
http://grad.vru.ac.th/meeting_board/2555_03-meeting/CID/Chon/26Wanchai3.pdf
—
ความกว้างของอันตรภาคชั้น = คะแนนสูงสุด – ต่ำสุด หารด้วย จำนวนชั้น
Class Interval (ชัชวาลย์ เรืองประพันธ์, 2543,หน้า 30)
ชัชวาลย์ เรืองประพันธ์. (2543). สถิติพื้นฐานพร้อมตัวอย่างการวิเคราะห์ด้วยโปรแกรม Minitab SPSS และ SAS. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ชัชวาลย์ เรืองประพันธ์. (2539). สถิติพื้นฐาน . ขอนแก่น : โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
! http://digi.library.tu.ac.th/thesis/sw/2680/13REFERENCES.pdf
! http://pru3.pnru.ac.th/offi/graduate/upload-files/pictures/63/H_711_7586.pdf
http://www.thebookbun.com/product/14476/
http://prezi.com/p9x1rkhj_cej/presentation/
—
ลิเคิร์ทสเกล (Likert Scale) 5 ระดับ โดย เร็นสิส เอ. ลิเคิร์ท (Rensis A. Likert)
Likert, Rensis A. (1961). New Patterns of Management.
New York: McGraw-Hill Book Company Inc.
http://www.sciepub.com/reference/219103
—
สมการกำหนดจำนวนของกลุ่มตัวอย่าง
Yamane, Taro. (1967). Statistics: An Introductory Analysis.(2 ed.). New York: Harper and Row.
http://www.sciepub.com/reference/180098